ข่าวไฟฟ้าพลังแสงอาทิตย์ ไฟฟ้าพลังลม โรงไฟฟ้า
ไฟฟ้าบนหลังคา แบตเตอรี่เก็บไฟฟ้า ข่าวไฟฟ้า โดยเคมวินโฟ
27 มีนาคม พ.ศ. 2566
27 March 2023
CATL and HGP establish partnership
to facilitate up to 5 GWh of Battery Energy Storage
Systems
Contemporary Amperex Technology Co., Limited (CATL),
a global leader of new energy innovative technologies,
and
HGP Storage, LLC (HGP),
a company specializing in the development of advanced
battery energy storage systems (BESS),
have announced an agreement
on the supply of over 450 MWh of BESS.
Both parties have also agreed
to enter into a long-term partnership
to facilitate
up to 5 GWh of utility-scale and distributed energy projects
to meet Texas's growing demand
for sustainable energy solutions.
The 450 MWh of BESS will be deployed on a project in Texas,
which is scheduled to begin commercial operations in 2024.
CATL will supply HGP with EnerC,
its containerized liquid-cooling BESS
that features high level of safety, long service life
and high integration.
With IP55 and C5 anti-corrosion protection,
EnerC is also able to meet the requirements of
various harsh climatic conditions.
Adopting CATL's integrated liquid cooling system
the long service life and safe operation of the project.
>> DOWNLOAD CATL CATALOGUE Page 1 to 3
17 มีนาคม พ.ศ. 2566
17 March 2023
บริษัท ท่าฉาง กรีน เอ็นเนอร์ยี่ จำกัด (มหาชน)
Municipal Solid Waste Power Plant
Electricity Selling price
>>Download TGE Opp Day Presentation
ที่มา > www.set.or.th/Opp Day/TGE/17 March 2023
27 มกราคม พ.ศ. 2566
TGE เปิดศักราชใหม่สดใส
ชนะประมูลโครงการโรงไฟฟ้าขยะชุมชน จ.ชัยนาท 8 MW
ดันกำลังการผลิตเติบโตแข็งแกร่ง
ตามแผนยุทธศาสตร์มุ่งสู่ 200 MW
นายสุเมธ ลักษิตานนท์
ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร
บริษัท ท่าฉาง กรีน เอ็นเนอร์ยี่ จำกัด (มหาชน) หรือ TGE
เปิดเผยว่า
บริษัทฯ ได้รุกขยายธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงานสะอาดตามแผนยุทธศาสตร์
ที่วางไว้เพื่อสร้างการเติบโตอย่างแข็งแกร่งและมั่นคง
ล่าสุดในวันที่ 27 มกราคม 2566
บริษัท ท่าฉาง เอนเนอร์ยี่ โซลูชัน (ชัยนาท) จำกัด
ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของ TGE ได้ผ่านการพิจารณาจาก
เทศบาลตำบลหนองมะโมง อำเภอหนองมะโมง จังหวัดชัยนาท
ให้เป็นผู้ชนะประมูล
โครงการ “โรงไฟฟ้าขยะชุมชนชัยนาท” (TES CNT)
กำลังการผลิตติดตั้ง 8 เมกะวัตต์ (MW)
มีปริมาณไฟฟ้าที่จะเสนอขายตามสัญญา (PPA) 6 MW
และได้รับคัดเลือกให้
เป็นผู้ลงทุนก่อสร้างและบริหารจัดการขยะมูลฝอย
ตาม
โครงการกำจัดขยะมูลฝอยเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้า
จากชุมชนในเทศบาลตำบลหนองมะโมง
โดยมีระยะเวลาดำเนินโครงการรวม 25 ปี
และบริษัทฯ จะเป็น
ผู้ลงทุนและบริหารจัดการเองทั้งหมด
ในรูปแบบ Build Own and Operate หรือ BOO
บริษัทฯ คาดว่าโครงการโรงไฟฟ้าขยะชุมชนชัยนาท
จะก่อสร้างแล้วเสร็จสามารถดำเนินการผลิตไฟฟ้าเชิงพาณิชย์ (COD)
และเริ่มรับรู้รายได้ตั้งแต่ปี 2569 เป็นต้นไป
นอกจากนี้บริษัทฯ จะมีรายได้
จากการรับบริหารจัดการขยะมูลฝอย
เพื่อรองรับการผลิตกระแสไฟฟ้าจากชุมชนของเทศบาลตำบลหนองมะโมง
ซึ่งจะเข้ามาเสริมศักยภาพธุรกิจ
และผลการดำเนินงานในอนาคตเติบโตอย่างแข็งแกร่ง
ขณะที่ภาพรวมการดำเนินธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงานสะอาดของ TGE
หลังจากชนะประมูลโรงไฟฟ้าขยะชุมชนชัยนาท
จะมี กำลังการผลิตติดตั้ง รวมทั้งสิ้นเป็น 69.6 MW
ประกอบด้วย
1) กลุ่มธุรกิจโรงไฟฟ้าชีวมวล ที่ COD แล้วจำนวน 3 โครงการ
ตั้งอยู่พื้นที่อำเภอท่าฉาง จังหวัดสุราษฎร์ธานี ทั้งหมด
กำลังการผลิตติดตั้งรวม 29.7 MW และ
2) กลุ่มธุรกิจโรงไฟฟ้าขยะชุมชน ที่อยู่ระหว่างพัฒนา 5 โครงการ
กำลังการผลิตติดตั้งรวม 39.9 MW (รอลงนามซื้อขายไฟฟ้า (PPA))
ประกอบด้วย
1.โรงไฟฟ้าขยะชุมชน TES-SKW จังหวัดสระแก้ว
กำลังการผลิตติดตั้ง 8 MW
2. โรงไฟฟ้าขยะชุมชน TES-RBR จังหวัดราชบุรี กำลังการผลิตติดตั้ง 8 MW
3. โรงไฟฟ้าขยะชุมชน TES-CPN จังหวัดชุมพร กำลังการผลิตติดตั้ง 6 MW
4. โรงไฟฟ้าขยะชุมชน TES-TCN จังหวัดสมุทรสาคร
กำลังการผลิตติดตั้ง 9.9 MW และล่าสุดคือ
5. โรงไฟฟ้าขยะชุมชน TES CNT จังหวัดชัยนาท
กำลังการผลิตติดตั้ง 8 MW
14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565
Floating Solar PV Farm (Thailand)
Private PPA 25 Years
Installed capacity (MWp) 8
Selling capacity (MWac) 8
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์บนทุ่นลอยน้ำ
STF
ดำเนินการโดย
บริษัท โซล่าร์ วิซิเบิล จำกัด (SV)
ที่มา > www.set.or.th/Opp Day/14 November 2022
ที่มา > TSE, Thai Solar Energy PCL
ที่ตั้งสำนักงาน
บริษัท ไทย โซล่าร์ เอ็นเนอร์ยี่ จำกัด (มหาชน)
725 อาคารเอส เมโทร ชั้น 19 ถนนสุขุมวิท
แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110
11 มกราคม พศ 2565
GPSC จัดตั้ง บริษัท นูออโว พลัส จำกัด ( NUOVO PLUS)
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ซินเนอร์ยี่ จำกัด (มหาชน) (“บริษัทฯ”)
บริษัท อรุณ พลัส จำกัด (“ARUN PLUS”)
ซึ่งเป็นบริษัทย่อยที่ บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) (“ปตท.”)
บริษัท นูออโว พลัส จำกัด (“NUOVO PLUS”)
และมีทุนชา ระยะเริ่มแรก 1,050 ล้านบาท
ถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ49 และ 51 ตามลำดับ
โดยมีวัตถุประสงคเ์พื่อศึกษาความเป็นไปได้และสนับสนุน
การลงทุนในห่วงโซ่ธุรกิจแบตเตอรี่ (Battery Value Chain)
ตามนโยบาย ขับเคลื่อนอุตสาหกรรมยานยนต์ของประเทศ
และระบบกักเก็บพลังงาน ซึ่งเป็นระบบที่สนับสนุน
ให้สามารถเก็บพลงังานไฟฟ้าจากพลงังานหมุนเวียน
(Renewable Energy) และนำมาใช้งานได้อย่างต่อเนื่อง
และ มีเสถียรภาพ รวมท้ังการลงทุนในธุรกิจเกี่ยวเนื่อง
โดยการร่วมทุนดังกล่าวจะเป็นการรวมจุดแข็ง ความเชี่ยวชาญ
และความแข็งแกร่งทางการเงิน ซึ่งจะเพิ่มขีดความสามารถ
ในการแข่งขันในธุรกิจแบตเตอรี่ และ เชื่อมโยงห่วงโซ่อุปทานยานยนต์ไฟฟ้า
เพื่อรองรับการเติบโตของธุรกิจแบตเตอรี่ในอนาคต
21 ธันวาคม 2564
21 December 2021
TotalEnergies Launches
the Largest Battery-Based Energy Storage Site in France
the largest battery-based energy storage facility in France.
Located at the Flandres center in Dunkirk,
this site, which responds to
the need for grid stabilization,has
a power capacity of 61 MW and
a total storage capacity of 61 megawatt hours (MWh).
It is made up of 27 containers of 2.5 MWh,
designed and assembled by Saft,
TotalEnergies’ battery affiliate
which notably develops advanced batteries for industry.
TotalEnergies Contacts
- Media Relations : +33 1 47 44 46 99 l presse@totalenergies.com l @TotalEnergiesPR
- Investor Relations: +44 (0)207 719 7962 l ir@totalenergies.com
Saft Contact
- Antoine Frenoy, Media Relations l Phone: +33 1 58 63 16 60 l antoine.frenoy@saftbatteries.com
22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564
บริษัท อมิตา เทคโนโลยี (ประเทศไทย) จำกัด
First Battery Gigafactory in ASEAN
* Comprehensive Battery Production Complex
Fully integrated production line : Not only cells but
electrolyte, solvent and recycle process
* Ready for immediate expansion
Infrastructure ready for quick scale up
from 1 GWh to 4 GWh without any major investments
(up to 50 GWh)
Amita Special Battery Features
* Long cylcel life
* Fast Charging
Now, Durable Charge
About 8,000 cycles
Charging 1C/1C
1 Hour Charge
All In-house Development, Ultra Fast Charge
About 3,000 Cycles
Fast Charging 4C/1C
15 Minutes Charge
Next, Solid State
Progress of Battery Factory Project
1 Machine Installation
2.Utility for NMP & Electrolyte Zone Installation
>>ดาวน์โหลดการนำเสนอ EA Presentation
บริษัท พลังงานบริสุทธิ์ จำกัด (มหาชน) สำนักงานใหญ่
ชั้น 16 อาคารเอไอเอ แคปปิตอล เซ็นเตอร์
เลขที่ 89 ถนนรัชดาภิเษก เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400
โทร : 0-2248-2488-92 , 0-2002-3667-9 เเฟกซ์ 0-2248-249
9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย หรือ กฟผ.
ได้พัฒนาต่อยอดสู่ระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานสะอาดแบบผสมผสาน
ระหว่างพลังงานแสงอาทิตย์
กับพลังนํ้าจากเขื่อน
ในโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ทุ่นลอยน้ำ
ร่วมกับโรงไฟฟ้าพลังน้ำ (Hydro-floating Solar Hybrid)
หรือ โรงไฟฟ้าโซลาร์เซลล์ลอยน้ำไฮบริด
จำนวน 16 โครงการทั่วประเทศ
กำลังการผลิตรวม 2,725 เมกะวัตต์
ตามแผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย
พ.ศ. 2561 – 2580 ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1
(PDP2018 Revision 1)
เพื่อให้ผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนได้อย่างต่อเนื่องยาวนาน
โดยนำร่อง
ที่เขื่อนสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี
เป็นแห่งแรก มีกำลังผลิตติดตั้ง 45 เมกะวัตต์
และยังนับเป็นโซลาร์เซลล์ลอยน้ำไฮบริดพลังน้ำที่ใหญ่ที่สุดในโลก
ซึ่งใช้แผงโซลาร์เซลล์มากถึง 144,420 แผ่น
ติดตั้งอยู่บนพื้นที่ผิวน้ำประมาณ 450 ไร่
หรือเทียบเท่า สนามฟุตบอลประมาณ 70 สนาม
โดยมีกำหนดจ่ายไฟเชิงพาณิชย์เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2564
กระบวนการผลิตไฟฟ้าของโซลาร์เซลล์ลอยน้ำไฮบริด
โรงไฟฟ้าโซลาร์เซลล์ลอยน้ำไฮบริดในเขื่อนของ กฟผ.
ไม่เพียงเป็นพลังงานสะอาดเท่านั้นแต่ยังตอบโจทย์พลังงานเพื่อทุกคน
เพราะการติดตั้งแผงโซลาร์เซลล์บนผิวน้ำในเขื่อนของ กฟผ.
โดยเฉพาะในพื้นที่เขื่อนสิรินธร
คิดเป็นพื้นที่ไม่ถึงร้อยละ 1 ของพื้นที่อ่างเก็บน้ำ
จึงไม่กระทบต่อพื้นที่ทางการเกษตร
อีกทั้งยังมีค่าไฟฟ้าในอัตราที่ต่ำ เนื่องจาก
เป็นการพัฒนาโครงการที่มีขนาดใหญ่ (Economy of Scale)
บนพื้นที่ผิวน้ำของเขื่อน กฟผ.
ที่สามารถลดต้นทุนค่าที่่ดินได้
และใช้อุปกรณ์ที่มีอยู่ให้เต็มประสิทธิภาพ
เช่น หม้อแปลง สายส่ง เป็นต้น
ซึ่งสามารถช่วยลดต้นทุนและค่าใช้จ่ายการดำเนินการที่เกี่ยวข้อง
ลงได้ส่งผลให้ได้ราคาที่ถูกและสามารถแข่งขันได้
โรงไฟฟ้าที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมในทุกมิติ
โซลาร์เซลล์ลอยน้ำไฮบริดเป็นกระบวนการผลิตไฟฟ้า
จากพลังงานสะอาดจึงไม่ก่อให้เกิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
ใช้ แผงโซลาร์เซลล์ชนิด Double Glass
ที่มีความแข็งแรงทนทานสูง และทนความชื้นได้ดี
สามารถออกแบบวางชิดผิวน้ำ
ซึ่งช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์
ถึงร้อยละ 10 – 15
ใช้ทุ่นลอยน้ำเป็นทุ่นพลาสติก
ชนิด High Density Poly Ethylene (HDPE)
ผสม UV Protection
ซึ่งเป็นวัสดุประเภทเดียวกับท่อส่งน้ำประปา
จึงเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีอายุการใช้งานนานกว่า 25 ปี
ช่วยลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
ซึ่งเป็นสาเหตุของภาวะโลกร้อน ประมาณ 47,000 ตันต่อปี
หรือเทียบเท่ากับการปลูกป่าประมาณ 37,600 ไร่ อีกทั้งการ
ติดตั้งแผงโซลาร์เซลล์ปกคลุมผิวน้ำ
ยังช่วยลดการระเหยของน้ำได้ประมาณ 460,000 ลูกบาศก์เมตรต่อปี
และช่วยลดการนำเข้าก๊าซธรรมชาติจากต่างประเทศ
ได้ถึง 730.62 พันล้านบีทียูต่อปี
ที่มา >การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย กฟผ. EGAT
1 มกราคม พ.ศ. 2564
77 จังหวัด 77 โรงพยาบาล ค่าใช้จ่าย 221.76 ล้าน
พระครูวิมลปัญญาคุณ เจ้าอาวาสวัดป่าศรีแสงธรรม เปิดบัญชีรับบริจาค
โครงการโรงพยาบาล Solar Cell นี้
“ถ้าคนในพื้นที่บริการมีสาม
โครงการนี้ต่อยอดจากการติดต
4 ธันวาคม พ.ศ. 2563
GPSC Q3/2020
Current Power Industry Structure in Thailand
Peak Demand 37,312 MW in 2019
Growth and Strategic Directions
GPSC Electricity Growth Pipelines, 3S Strategies
Synergy and Integration
Selective Growth
S-Curve
Nava Nakorn Electricity Generation (NNEG Expansion)
Rayong Waste to Energy (RDF Power Plant)
SPP Replacement (Stage 1 : Glow Energy Phase 2)
อ่านรายละเอียดความก้าวหน้าโครงการ
เครดิต > GPSC Global Power Synergy